
INTRODUCTION TO BUDDHISM
Learn about the father of Buddhism, “The Buddha” was born Siddhartha Gautama, a prince of the Sakya tribe of Nepal, in approximately 566 BC. When he was twentynine years old, he left the comforts of his home to seek the meaning of the suffering he saw around him. After six years of arduous yogic training, he abandoned the way of self-mortification and instead sat in mindful meditation beneath a bodhi tree. On the full moon of May, with the rising of the morning star, Siddhartha Gautama became the Buddha, the enlightened one. The Buddha wandered the plains of northeastern India for 45 years more, teaching the path or Dharma he had realized in that moment. Around him developed a community or Sangha of monks and, later, nuns, drawn from every tribe and caste, devoted to practicing this path. In approximately 486 BC, at the age of 80, the Buddha died. His last words are said to be… Impermanent are all created things; Strive on with awareness.
What is Buddhism
Buddhism is a path of practice and spiritual development leading to Insight into the true nature of reality. Buddhist practices like meditation are means of changing yourself in order to develop the qualities of awareness, kindness, and wisdom. The experience developed within the Buddhist tradition over thousands of years has created an incomparable resource for all those who wish to follow a path — a path which ultimately culminates in Enlightenment or Buddhahood. An enlightened being sees the nature of reality absolutely clearly, just as it is, and lives fully and naturally in accordance with that vision. This is the goal of the Buddhist spiritual life, representing the end of suffering for anyone who attains it. Because Buddhism does not include the idea of worshiping a creator god, some people do not see it as a religion in the normal, Western sense. The basic tenets of Buddhist teaching are straightforward and practical: nothing is fixed or permanent; actions have consequences; change is possible. So Buddhism addresses itself to all people irrespective of race, nationality, caste, sexuality, or gender. It teaches practical methods which enable people to realize and use its teachings in order to transform their experience, to be fully responsible for their lives.
BHDDHIST LIFESTYLE

Effort and Patience
ศาสนาพุทธ สอนและสรรเสริญผู้มีความเพียร มีความอดทน ความอุตสาหะ ในหน้าที่ในบริบทของตน เช่น ถ้าเป็นฆราวาส ก็ขยัน อดทน ทำทาหาเลี้ยงชีพ ไม่ขี้เกียจขี้คร้าน ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นได้ ถ้ามีความเพียร มีความอดทน
Morality
ศาสนาพุทธสนับสนุนและสอนให้คน ตั้งตนอยู่ในศีลในธรรม เพราะจะเป็นเหตุให้ชีวิตมั่นคงปลอดภัย และสอนให้ละเว้นจากเหตุที่จะทำให้ชีวิตล้มละลายคือทางที่ไม่มีศีลธรรม เช่า สุรา ยาเสพย์ติด การฆ่าฟัน การลักขโมย คดโกงต่างๆเป็นต้น
Loving Kindness and Compassion
ศาสนาพุทธสนับสนุน สอนให้คน มีเมตตา มีความกรุณาต่อกันและ เอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยตั้งจิตไว้ว่า สัตว์ทั้งหลาย ไม่ว่าเพื่อนมนุษย์หรือสัตว์ชนิดต่างๆ ล้วนเป็นพี่น้อง เพื่อนผู้ร่วมเกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งมวล ดังนั้นให้รักกัน เมตตากัน อย่าเบียดเบียนกัน
Mental Development and Meditation
ศาสนาพุทธมองว่ามนุษย์เป็นสัตว์ที่ฝึกได้และจำเป็นต้องฝึกจึงจะดีและประเสริฐอย่างแท้จริง จึงเน้นหนักไปที่กระบวนการฝึก ที่แทบจะกล่าวได้ว่าเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านจิตใจ การพัฒนาจิต โดยอาศัยกระบวนการ ของ หลักสมาธิ และวิปัสสนา เพื่อเจริญปัญญา ให้รู้เห็นความจริงของสรรพสิ่ง อันมีเป้าหมายสูงสุดคือการหลุดพ้น และ การภาวนา หรือฝึกตนนั้นเอง ที่จะทำให้ชาวพุทธ เป็นชาวพุทธที่แท้จริง เพราะการฝึกตน เป็นเหตุให้คุณสมบัติ และคุณธรรมต่างๆ อันเป็นลักษณะของชาวพุทธนั้นเกิดขึ้นได้ ทั้งหมดนี้เป็นทัศนคติของพระพุทธศาสนา ในการดำเนินชีวิต ของทุกระดับ ทุกเชื้อชาติ

Conclusion
สรุป ชีวิตของ ชาวพุทธต้องเป็นชีวิตที่ ตั้งตนอยู่ในศีลธรรม ตลอดถึงกฎหมายบ้านเมือง มีเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย เป็นคนขยันขันแข็ง อดทน ในหน้าที่การงาน ภาระที่ได้รับไม่ขี้เกียจขี้คร้าน เป็นคนมีสติ สัมปชัญญะในกิจการงานต่างๆที่ทำ และใช้ชีวิต และสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นมาได้ก็ด้วยการหมั่นฝึกฝนอบรม พัฒนาจิตใจตนเอง จากหลัก สมาธิภาวนา อันมีเป้าหมายสูงสุดคือ การหลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งปวงเข้าถึงพระนิพพาน อันเป็นบรมสุข ที่เที่ยงแท้แน่นอน